วันอังคารที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476 - พ.ศ. 2566 รวม 27 ครั้ง

Khaosod - ข่าวสด 22 มีนาคม 2023 · กินมื้อเที่ยง “บิ๊กป้อม” รอบ 2

เสียงข้างมากนับจากจำนวน ส.ส.
พรรคโคตรพ่อนับคะแนนรวมที่ได้
สองพรรค ประชาธิปัตย์ ภูมิใจไทย
จับขั้วไว้ พรรคไปไหน ไปด้วยกัน

เสียงข้างมากนับจากจำนวน ส.ส.
สองพรรค จับขั้วรอ วิมานสวรรค์
พลังประชารัฐ ภูมิใจไทย สองพรรคนั้น
มีคำมั่น สันดานเห็น เช่นผ่านมา

สามัญชน
๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๖
❌3️⃣1️⃣ 🧡🍊🐥👍 ❌2️⃣5️⃣ 
https://shorturl.asia/3KUOe

#การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย, คะแนนเสียงมหาชน, ป๊อบปูลาร์โหวต, Popular vote, คะแนนเสียงจากผู้มีสิทธิออกเสียง, ประชาธิปัตย์, ภูมิใจไทย, พลังประชารัฐ

จำเลยที่ 3 สิริน..[เรือ ริมกระดานที่]
จำเลยที่ 4 วชิ... [ม้า กระโดดเบี่ยง]
คณะโขนหมากรุกไทยเดินรายเรียง
แว่วเสียง #หวังว่าสายฝนจะพาล่องไป

สามัญชน
๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๖

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง
พระยาพหลพลพยุหเสนา
คณะราษฎร
1
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476
เป็นการเลือกตั้งครั้งแรกในสยาม
15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476
78 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
พรรค คณะราษฎร ที่นั่งที่ชนะ 78 
ว่าที่นายกรัฐมนตรี พระยาพหลพลพยุหเสนา คณะราษฎร
2
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2480
7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480
91 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
พรรค คณะราษฎร ที่นั่งที่ชนะ 91
ว่าที่นายกรัฐมนตรี พระยาพหลพลพยุหเสนา คณะราษฎร
3
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2481
ถือเป็น การเลือกตั้งครั้งที่ 3 ของประเทศไทย นับตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481
91 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
พรรค คณะราษฎร ที่นั่งที่ชนะ 91
ว่าที่นายกรัฐมนตรี หลวงพิบูลสงคราม คณะราษฎร
4
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มกราคม พ.ศ. 2489
นับเป็น การเลือกตั้งในประเทศไทยเป็นครั้งที่ 4
6 มกราคม พ.ศ. 2489
96 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
พรรค อิสระ ที่นั่งที่ชนะ 96
แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ควง อภัยวงศ์ อิสระ
5
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเพิ่มเติม สิงหาคม พ.ศ. 2489
ถือเป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนเป็นครั้งที่สองของปี พ.ศ. 2489
5 สิงหาคม พ.ศ. 2489
82 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
แนวรัฐธรรมนูญ ที่นั่งที่ชนะ 57
ประชาธิปัตย์ ที่นั่งที่ชนะ 18
สหชีพ ที่นั่งที่ชนะ 7
แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ แนวรัฐธรรมนูญ

6
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491
29 มกราคม พ.ศ. 2491

99 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประชาธิปัตย์ ที่นั่งที่ชนะ 53
อิสระ ที่นั่งที่ชนะ 46
ว่าที่นายกรัฐมนตรี ควง อภัยวงศ์ ประชาธิปัตย์
7
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเพิ่มเติม พ.ศ. 2492
5 มิถุนายน พ.ศ. 2492
21 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
พรรค อิสระ ที่นั่งที่ชนะ 21
ว่าที่นายกรัฐมนตรี แปลก พิบูลสงคราม ธรรมาธิปัตย์
8
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495
26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495
123 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
พรรค อิสระ ที่นั่งที่ชนะ 123
ว่าที่นายกรัฐมนตรี แปลก พิบูลสงคราม ธรรมาธิปัตย์
9
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
เป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 7 ของราชอาณาจักรไทย
26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500

เสรีมนังคศิลา ที่นั่งที่ชนะ 85
ประชาธิปัตย์ ที่นั่งที่ชนะ 31
ว่าที่นายกรัฐมนตรี แปลก พิบูลสงคราม เสรีมนังคศิลา
10
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500
นับเป็น การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 8 ของประเทศไทย
15 ธันวาคม พ.ศ. 2500
จำนวนทั้งหมด 160 ที่นั่งใน รัฐสภาไทย
สหภูมิ 44
ประชาธิปัตย์ 39
ว่าที่นายกรัฐมนตรี ถนอม กิตติขจร พรรคชาติสังคม

11
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512
นับเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 9
10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512
สหประชาไทย 74
ประชาธิปัตย์ 55
ว่าที่นายกรัฐมนตรี ถนอม กิตติขจร สหประชาไทย
12
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518
เป็น การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 10 ในประเทศไทย
26 มกราคม พ.ศ. 2518
.
ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 3,176,398
ธรรมสังคม คะแนนเสียง 2,669,736
ชาติไทย คะแนนเสียง 2,220,897
เกษตรสังคม คะแนนเสียง 1,982,168
กิจสังคม 1,387,451
สังคมชาตินิยม 1,299,613
13
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519
เป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 11
4 เมษายน พ.ศ. 2519

ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 4,745,990
ชาติไทย คะแนนเสียง 3,280,134
กิจสังคม คะแนนเสียง 3,272,170

ว่าที่นายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ประชาธิปัตย์
14
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522
จัดเป็น การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 12
22 เมษายน พ.ศ. 2522

กิจสังคม คะแนนเสียง 4,179,174
ชาติไทย คะแนนเสียง 2,213,299
ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 2,865,248
ประชากรไทย คะแนนเสียง 528,210

ว่าที่นายกรัฐมนตรี เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ อิสระ
15
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526
นับเป็น การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 13
18 เมษายน พ.ศ. 2526

ชาติไทย คะแนนเสียง 6,315,568
กิจสังคม คะแนนเสียง 7,103,177
ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 4,144,414
ประชากรไทย คะแนนเสียง 2,395,795
ชาติประชาธิปไตย 2,137,780 ว่าที่นายกรัฐมนตรี เปรม ติณสูลานนท์ อิสระ
16
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529
27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529
.
ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 8,477,701
ชาติไทย คะแนนเสียง 6,496,370
กิจสังคม คะแนนเสียง 4,560,615

ว่าที่นายกรัฐมนตรี เปรม ติณสูลานนท์ อิสระ
17
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531
24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531

ชาติไทย คะแนนเสียง 7,612,148
กิจสังคม คะแนนเสียง 4,651,161
ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 4,456,077
รวมไทย คะแนนเสียง 3,988,941
ประชากรไทย คะแนนเสียง 2,413,520
ราษฎรคะแนนเสียง 2,336,962 
ประชาชน คะแนนเสียง 2,454,870
ปวงชนชาวไทย คะแนนเสียง 3,143,851 พลังธรรม คะแนนเสียง 3,586,878

ว่าที่นายกรัฐมนตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ ชาติไทย
18
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535
นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า 35/1
22 มีนาคม พ.ศ. 2535

สามัคคีธรรม คะแนนเสียง 8,578,529
ชาติไทย คะแนนเสียง 7,305,674
ความหวังใหม่ คะแนนเสียง 9,980,150
ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 4,705,376
พลังธรรม คะแนนเสียง 5,104,849
.
กิจสังคม คะแนนเสียง 3,586,714
19
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า 35/2
13 กันยายน พ.ศ. 2535

ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 9,703,672
ชาติไทย คะแนนเสียง 7,274,474
ชาติพัฒนา คะแนนเสียง 7,332,388
ความหวังใหม่ คะแนนเสียง 6,576,092
พลังธรรม คะแนนเสียง 8,293,457
กิจสังคม คะแนนเสียง 1,863,360

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง ชวน หลีกภัย พรรคประชาธิปัตย์ 
20
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538
เป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 18
2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
ชาติไทย คะแนนเสียง 12,630,074
ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 12,325,423
ความหวังใหม่ คะแนนเสียง 6,806,621
ชาติพัฒนา 6,612,512
พลังธรรม 4,209,135
กิจสังคม 2,201,218
ว่าที่นายกรัฐมนตรี บรรหาร ศิลปอาชา ชาติไทย

21
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539
เป็น การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศไทยครั้งที่ 19
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
ความหวังใหม่ คะแนนเสียง 16,585,528
ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 18,087,006
ชาติพัฒนา คะแนนเสียง 7,044,304
ชาติไทย 5,621,890
กิจสังคม 3,036,544
ประชากรไทย 2,330,135   

ว่าที่นายกรัฐมนตรี ชวลิต ยงใจยุทธ ความหวังใหม่
22
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544
เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งที่ 20
6 มกราคม พ.ศ. 2544
.
ไทยรักไทย คะแนนเสียง 11,634,495
ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 7,610,789
ชาติไทย
คะแนนเสียง 1,516,192
ความหวังใหม่ คะแนนเสียง 1,996,227
ชาติพัฒนา คะแนนเสียง 1,752,981
เสรีธรรม คะแนนเสียง 821,736
ว่าที่นายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร ไทยรักไทย
23
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548
เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งที่ 21 ของประเทศไทย
6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548

ไทยรักไทย คะแนนเสียง 18,993,073
ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 7,210,742
ชาติไทย คะแนนเสียง 2,061,559
มหาชน คะแนนเสียง 1,346.631
ว่าที่นายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร ไทยรักไทย
24
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549
เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 22
2 เมษายน พ.ศ. 2549

ไทยรักไทย 16,420,755
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 9,051,706

ว่าที่นายกรัฐมนตรี โมฆะ
รัฐบาลถูกรัฐประหารในเดือนกันยายน 2549 
แต่งตั้ง สุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
25
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550
เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งที่ 23
23 ธันวาคม พ.ศ. 2550

พลังประชาชน คะแนนเสียง 12,338,903
ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 12,148,504
ชาติไทย คะแนนเสียง 1,542,282
เพื่อแผ่นดิน คะแนนเสียง 1,981,021
ว่าที่นายกรัฐมนตรี สมัคร สุนทรเวช พลังประชาชน
26
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554
เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปครั้งที่ 24 ของประเทศไทย
3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

เพื่อไทย คะแนนเสียง 15,744,190
ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 11,433,762
ภูมิใจไทย คะแนนเสียง 1,281,652
ชาติไทยพัฒนา คะแนนเสียง 907,107

ว่าที่นายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เพื่อไทย
27
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557
เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปครั้งที่ 25
2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ผลการเลือกตั้ง ศาลรัฐธรรมนูญพิพากษาให้การเลือกตั้งไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
ว่าที่นายกรัฐมนตรี โมฆะ
รัฐบาลถูกรัฐประหารในเดือนพฤษภาคม 2557 
แต่งตั้ง ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี
28
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562
เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปครั้งที่ 26
24 มีนาคม พ.ศ. 2562

เพื่อไทย คะแนนเสียง 7,881,006
พลังประชารัฐ คะแนนเสียง 8,441,274
อนาคตใหม่ คะแนนเสียง 6,330,617
ประชาธิปัตย์ คะแนนเสียง 3,959,358
ภูมิใจไทย คะแนนเสียง 3,734,459

ว่าที่นายกรัฐมนตรี ประยุทธ์ จันทร์โอชา อิสระ
29
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566
เป็นการเลือกตั้งทั่วไปในประเทศไทยครั้งที่ 27
14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

ก้าวไกล 14,233,895
เพื่อไทย 10,865,836
ภูมิใจไทย 1,121,595
พลังประชารัฐ 530,017
รวมไทยสร้างชาติ 4,673,691

ประชาธิปัตย์ 899,303

ว่าที่นายกรัฐมนตรี ยังไม่ประกาศ


Khaosod - ข่าวสด 22 มีนาคม 2023 · กินมื้อเที่ยง “บิ๊กป้อม” รอบ 2




2 ความคิดเห็น:

  1. .
    การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป
    พ.ศ. 2476 - พ.ศ. 2566 รวม 27 ครั้ง

    เสียงข้างมากนับจากจำนวน ส.ส.
    พรรคโคตรพ่อนับคะแนนรวมที่ได้
    สองพรรค ประชาธิปัตย์ ภูมิใจไทย
    จับขั้วไว้ พรรคไปไหน ไปด้วยกัน

    เสียงข้างมากนับจากจำนวน ส.ส.
    สองพรรค จับขั้วรอ วิมานสวรรค์
    พลังประชารัฐ ภูมิใจไทย สองพรรคนั้น
    มีคำมั่น สันดานเห็น เช่นผ่านมา
    .
    สามัญชน
    ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๖
    ❌3️⃣1️⃣ 🧡🍊🐥👍 ❌2️⃣5️⃣
    https://shorturl.asia/3KUOe
    .
    #การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย, คะแนนเสียงมหาชน, ป๊อบปูลาร์โหวต, Popular vote, คะแนนเสียงจากผู้มีสิทธิออกเสียง, ประชาธิปัตย์, ภูมิใจไทย, พลังประชารัฐ
    .

    ตอบลบ
  2. เสียงข้างมากนับจากจำนวน ส.ส.
    พรรคโคตรพ่อนับคะแนนรวมที่ได้
    สองพรรค #ประชาธิปัตย์ ภูมิใจไทย
    จับขั้วไว้ พรรคไปไหน ไปด้วยกัน
    https://shorturl.asia/3KUOe
    เสียงข้างมากนับจากจำนวน ส.ส.
    สองพรรค จับขั้วรอ วิมานสวรรค์
    #พลังประชารัฐ #ภูมิใจไทย สองพรรคนั้น
    มีคำมั่น สันดานเห็น เช่นผ่านมา❌3️⃣1️⃣ 🧡

    ตอบลบ

|