วันศุกร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2566

กสม.แจงความเห็นต่อ ‘ราชทัณฑ์’ ปมขังนอกคุก คิดบนฐานผู้ต้องหามีสิทธิตามกฎหมาย

 

สำนักข่าวอิศรา 15/12/2023  · กสม.แจงความเห็นต่อ ‘ราชทัณฑ์’ ปมขังนอกคุก คิดบนฐานผู้ต้องหามีสิทธิตามกฎหมาย

ข้อเสนอแนะที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 22 พ.ค.62 แก้ไขปัญหาความแออัดของเรือนจำ ตามมาตรฐานสากลขององค์การสหประชาชาติ . ทางเลือก เช่น การเบี่ยงเบนคดีอาญาออกจากกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก แยกสถานที่คุมขังระหว่างผู้ต้องขังเด็ดขาดกับผู้ต้องขังระหว่างพิจารณา สถานที่ควบคุมผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดีและผู้ถูกกักขังแทนค่าปรับ

🙏🐸😍🎀💖🧡💔💕💋🐝🐔🍀😘😢🌞🌐🌀🐞🐠⁉️🐹🐧🐬🐓🍄 https://shorturl.asia/IbyKf
#กรมราชทัณฑ์ #ขังนอกคุก #สำนักข่าวอิศรา ,คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)

ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการดำเนินการสำหรับการคุมขังในสถานที่คุมขัง พ.ศ.2566 อ้างว่าส่วนหนึ่งมีข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) จากการดำเนินโครงการตรวจเยี่ยมสถานที่เสี่ยงต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนเพื่อแก้ไขปัญหาความแออัดของเรือนจำ ข้อเสนอแนะที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 22 พ.ค.62 แก้ไขปัญหาความแออัดของเรือนจำ ตามมาตรฐานสากลขององค์การสหประชาชาติ ทางเลือก เช่น การเบี่ยงเบนคดีอาญาออกจากกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก แยกสถานที่คุมขังระหว่างผู้ต้องขังเด็ดขาดกับผู้ต้องขังระหว่างพิจารณา สถานที่ควบคุมผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดีและผู้ถูกกักขังแทนค่าปรับ หนังสือลงวันที่ 25 ก.พ.65 กำหนดสถานที่ที่เหมาะสมกับผู้ต้องขังแต่ละประเภท เพื่อแก้ไขปัญหาความแออัดของเรือนจำ เดือนกุมภาพันธ์และเดือนมีนาคม 2566 การปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง สิทธิของผู้ต้องหาหรือจำเลยระหว่างการพิจารณาคดี ทุกคนเป็นผู้บริสุทธิ์ รัฐธรรมนูญ มาตรา 29 วรรคสอง ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อ 11 (1) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ข้อ 14 วรรคสอง การแยกคุมขังผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดีกับผู้ต้องขังเด็ดขาด การแก้ไขกฎกระทรวงออกตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 89/1 การติดอุปกรณ์ติดตามตัวอิเล็กทรอนิกส์ หรือกำไล EM การกำหนดสถานที่คุมขังอื่นสำหรับผู้ต้องขังในคดีความแตกต่างทางความคิดหรือความเห็นต่าง ซึ่งยังไม่มีการพิพากษาว่าเป็นผู้กระทำความผิด CCPR ข้อ 10 ผู้ต้องหาต้องได้รับการจำแนกออกจากผู้ต้องโทษ ต้องได้รับการปฏิบัติที่แตกต่างออกไปให้เหมาะสมกับสถานะที่ไม่ใช่ผู้ต้องโทษ บุคคลทั้งปวงย่อมเสมอกันในกฎหมาย และมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันตามกฎหมาย โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใด ๆ สิทธิของผู้ต้องขังทุกคนต้องเสมอภาค เท่าเทียม และไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ไม่ว่าจะมีสถานะใด ๆ
กสม. ชี้แจงกรณีระเบียบกรมราชทัณฑ์ ย้ำสิทธิผู้ต้องหาและผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดี ตามหลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ และหลักไม่เลือกปฏิบัติ
2
กสม. ชี้แจงกรณีระเบียบกรมราชทัณฑ์ ย้ำสิทธิผู้ต้องหาและผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดี ตามหลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ และหลักไม่เลือกปฏิบัติ

กสม. ชี้แจงกรณีระเบียบกรมราชทัณฑ์ ย้ำสิทธิผู้ต้องหาและผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดี ตามหลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ และหลักไม่เลือกปฏิบัติ
3 กสม. ชี้แจงกรณีระเบียบกรมราชทัณฑ์ ย้ำสิทธิผู้ต้องหาและผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดี ตามหลักสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ และหลักไม่เลือกปฏิบัติ
สามารถดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติมได้ที่ : ข่าว-กสม-ชี้แจงเรื่องระเบียบกรมราชทัณฑ์-15-12-66.pdf
สำนักข่าวอิศรา 15/12/2023 · กสม.แจงความเห็นต่อ ‘ราชทัณฑ์’ ปมขังนอกคุก คิดบนฐานผู้ต้องหามีสิทธิตามกฎหมาย

2 ความคิดเห็น:

  1. .
    กสม.แจงความเห็นต่อ ‘ราชทัณฑ์’ ปมขังนอกคุก คิดบนฐานผู้ต้องหามีสิทธิตามกฎหมาย
    .
    ข้อเสนอแนะที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 22 พ.ค.62
    .
    แก้ไขปัญหาความแออัดของเรือนจำ
    ตามมาตรฐานสากลขององค์การสหประชาชาติ
    .
    ทางเลือก เช่น การเบี่ยงเบนคดีอาญาออกจากกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก
    แยกสถานที่คุมขังระหว่างผู้ต้องขังเด็ดขาดกับผู้ต้องขังระหว่างพิจารณา
    สถานที่ควบคุมผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดีและผู้ถูกกักขังแทนค่าปรับ
    .
    🙏🐸😍🎀💖🧡💔💕💋🐝🐔🍀😘😢🌞🌐🌀🐞🐠⁉️🐹🐧🐬🐓🍄
    https://shorturl.asia/IbyKf
    .
    #กรมราชทัณฑ์ #ขังนอกคุก #สำนักข่าวอิศรา ,คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
    .

    ตอบลบ
  2. ความแออัดของเรือนจำ
    มาตรฐานสากลขององค์การสหประชาชาติ
    https://shorturl.asia/IbyKf
    ทางเลือก เบี่ยงเบนคดีอาญาออกจากกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก
    แยกสถานที่คุมขังระหว่างผู้ต้องขังเด็ดขาดกับผู้ต้องขังระหว่างพิจารณา
    สถานที่ควบคุมผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดีและผู้ถูกกักขังแทนค่าปรับ
    #ขังนอกคุก

    ตอบลบ

|